กำหนดการ พิธีประสาทปริญญามหาวิทยาลัยธรรมกาย แคลิฟอร์เนีย วันอาทิตย์ ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
กำหนดการ พิธีประสาทปริญญา วันอาทิตย์ ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 ณ สภาธรรมกายสากล วัดพระธรรมกาย จ. ปทุมธานี
บวชแล้ว "สังคมและประเทศชาติ" และ "พระพุทธศาสนา" ได้อะไร
บวชแล้ว "สังคมและประเทศชาติ" ได้อะไร ๑. เป็นการสร้างความสมัครสมานสามัคคีให้เกิดขึ้นแก่พุทธบริษัท ๔ ทั้งแผ่นดิน ๒. ฟื้นฟูศีลธรรมในใจของผู้คนที่กำลังเสื่อมลงทุกขณะให้หวนกลับคืนมาอีกครั้งหนึ่ง
อานิสงส์ถวายเสา ๑ ต้นร่วมสร้างศาลา
พระเอกถัมภิกเถระ ได้เคยสร้างบุญด้วยการถวายเสาเพียงต้นเดียวเพื่อร่วมสร้างศาลาถวายพระบรมศาสดา ความสุขและความสมปรารถนาบังเกิดขึ้นกับท่านเกินควรเกินคาด
ขอเรียนเชิญร่วมปล่อย ปลาไข่ ปลาดุก เต่า กบ นก วันเสาร์ ที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2553
ให้ชีวิตสรรพสัตว์เป็นทานนับหมื่นชีวิต ต้อนรับเดือนกันยายนเดือนแห่งการสร้างบุญความดี และร่วมใจน้อมถวายบุญนี้ แด่มหาปูชะนียาจารย์ ด้วยการให้ชีวิตสรรพสัตว์เป็นทานนับหมื่นชีวิต ขอเรียนเชิญท่านสาธุชนผู้ใจบุญทุกท่านสร้างบุญให้ต่อเนื่อง ร่วมปล่อย ปลาไข่ ปลาดุด เต่า กบ นก วันเสาร์ ที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2553
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - รู้เท่าไม่ถึงการณ์ (๑)
ครั้นพ่อค้าผู้ไม่มีความผิดถูกประหารชีวิตแล้ว ด้วยกุศลกรรมที่ทำไว้เพียงเล็กน้อย จึงไปบังเกิดเป็นเปรตผู้มีฤทธิ์ มี ม้าอาชาไนยทิพย์สีขาวเป็นยานพาหนะ กลิ่นทิพย์หอมฟุ้งออกจากกาย ด้วยอานิสงส์ของการทำทางด้วยกะโหลกศีรษะโค และการกล่าวสรรเสริญคุณของผู้อื่น แต่กลับต้องเป็นผู้เปลือยกาย เพราะบาปกรรมเพียงเล็กน้อย ที่ได้นำเสื้อผ้าของเพื่อนไปซ่อนด้วยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์นั่นเอง
มติ มส.อนุมัติการปฏิบัติศาสนกิจในต่างประเทศ
มหาเถรสมาคม สรุปการประชุมมหาเถรสมาคม ครั้งที่ ๑๕/๒๕๕๓ เมื่อวันจันทร์ ที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๓ ถึงเรื่องการอนุมัติเกี่ยวกับการปฏิบัติศาสนกิจในต่างประเทศ ดังนี้
The Great Chancellor Episode 1
The true story of the merit-making process of the head of teaching monks in the last Buddha Aeon. What does it concern with the Great Chancellor?
เวสสันดรชาดก ตอนที่ ๑ ( ปฐมเหตุ )
พระบรมโพธิสัตว์ได้ดำรงตนเป็นแบบอย่างนักสร้างบารมี ตั้งแต่ประสูติจากพระครรภ์ของพระมารดา ก็แบพระหัตถ์ออก และกล่าวกับพระมารดาว่า"เสด็จแม่ มีสิ่งใดให้ลูกได้ทำทานบ้าง" นี่..พระองค์เกิดมาเพื่อการนี้ เพื่อบ่มบารมีให้แก่รอบ ครั้นพระชนมายุได้เพียง ๘ ชันษา ประทับอยู่บนปราสาทตามลำพัง ทรงคิดที่จะบริจาคทานว่า "เราพึงให้หัวใจ ดวงตา เนื้อ เลือด และร่างกายที่มีอยู่ทั้งหมดนี้ หากใครมาขอเรา ให้เราได้ยิน เราก็จะพึงให้ด้วยความยินดี"
มหาโควินทสูตรตอนที่ ๑ (เทวสันนิบาต)
ความพร้อมเพรียงของหมู่เป็นเหตุแห่งสุข ภิกษุผู้ยินดีในความพร้อมเพรียงกัน ตั้งอยู่ในธรรม ย่อมไม่เสื่อมจากธรรมอันเกษมจากโยคะ
จันทกุมาร บำเพ็ญขันติบารมี (๑)
ผู้อดทนย่อมเป็นที่รัก เป็นที่ชอบใจของคนเป็นอันมาก เป็นผู้ไม่มากด้วยเวร เป็นผู้ไม่มากด้วยโทษ เป็นผู้ไม่หลงทำกาละ และเมื่อตายไป ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์